
หลักสูตร :
การบริหารความเสี่ยงโครงการแบบมืออาชีพตามมาตรฐาน ISO 21500
วิทยากร/ที่ปรึกษาในหลักสูตรนี้ :
อ.จิรพร สุเมธีประสิทธิ์ (ประวัติวิทยากร)
ระยะเวลา : 1 วัน / 6 ชั่วโมง
รหัส : ICR013
Conceptual Design
หลักสูตรนี้มุ่งเน้นที่การพัฒนาความสามารถในการบริหารความเสี่ยงในโครงการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ISO 21500 โดยเน้นการปฏิบัติจริงและการนำเครื่องมือต่างๆ มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงในโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดความล้มเหลวของโครงการ และบรรลุเป้าหมายของโครงการได้ตามที่กำหนดไว้
Objectives
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจแนวคิดของมาตรฐาน ISO 21500 ทั้ง 10 องค์ประกอบ และประเด็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับวงจรบริหารโครงการ 5 ขั้นตอน
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจกลไก เครื่องมือ วิธีการขับเคลื่อนแนวปฏิบัติที่ดีตามมาตรฐาน ISO 21500 รายองค์ประกอบที่จำเป็นต่อการบริหารโครงการ
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจกระบวนการจัดทำแผนดำเนินงานและกิจกรรมเพื่อพัฒนาตามแนวปฏิบัติที่ดีตาม ISO 21500
Key Topic
แบบที่ 1 (1 วัน)
Day 1 – วันที่ 1 ช่วงเช้า (09.00-10.30 น.)
การบรรยาย
- กรอบแนวคิด และแนวปฏิบัติที่ดี (GUIDELANE) ตามมาตรฐาน ISO 21500
- รายละเอียด 10 องค์ประกอบ 40 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ความเชื่อมโยงกับกลยุทธ์และผลดำเนินงานระดับองค์กร
- หลักการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงโครงการตาม RISK-CONTROL MATRIX
Day 1 – วันที่ 1 ช่วงเช้า (10.45-12.00 น.)
- แนวปฏิบัติที่ดีสำหรับองค์กรสมัยใหม่ ภายใต้มาตรฐาน COSO ERM 2017
- คู่มือการนำเสนอผลประเมินความเสี่ยงและแผนบริหารความเสี่ยงโครงการสำหรับผู้นำเสนอโครงการ
- คู่มือการพิจารณาประเด็นความเสี่ยงและข้อเสนอแผนบริหารความเสี่ยงโครงการ สำหรับผู้อนุมัติโครงการและอนุมัติงบประมาณ
- คู่มือการกำกับโครงการของ PMO – PROJECT MANGEMENT OFFICE
Day 1 – วันที่ 1 ช่วงบ่าย (13.00-14.30 น.)
- กระบวนการขับเคลื่อนแนวปฏิบัติที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารกลยุทธ์
- กระบวนการระดับองค์กรที่เพิ่มเติม
- กระบวนการระดับแผนงาน/โครงการที่เพิ่มขึ้น
Day 1 – วันที่ 1 ช่วงบ่าย (14.45-16.00 น.)
- รูปแบบรายงานการบริหารความเสี่ยงโครงการรายไตรมาส พร้อมตัวชี้วัดความเสี่ยง ที่เชื่อมโยงและบูรณาการกับ KPIs และผลดำเนินงานโครงการ
# เบรคเช้า – 10.30-10.45 น.
# รับประทานอาหารกลางวัน – 12.00-13.00 น.
# เบรคบ่าย – 14.30-14.45 น.
ทั้งนี้ ช่วงเวลาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
แบบที่ 2 (2 วัน)
กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม
แบบที่ 3 (2.5 วัน)
กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม
แบบที่ 4 (3 วัน)
กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม
Target Group
1. Top Management (Executives,C-Level,Director)
2. Middle Management (Manager & Asst. Manager)
3. Front-Line Management (Sr.Supervisor,Supervisor)
กลุ่มเป้าหมายของหลักสูตรการอบรมนี้ จะแบ่งออกตามหลักสูตรย่อย ดังนี้
- หลักสูตรย่อย “บทบาทและการชี้นำคณะกรรมการกำกับโครงการ (STREEING COMMITTEE) สำหรับโครงการเชิงกลยุทธ์องค์กร”
- หลักสูตรย่อย “การพัฒนาแผนงานสู่แนวปฏิบัติที่ดี เพื่อบริหารความเสี่ยงโครงการตาม ISO 21500” สำหรับผู้บริหารที่รับผิดชอบโครงการเชิงกลยุทธ์
- หลักสูตรย่อย “การบริหารกิจกรรมประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดี ISO 21500 ในระดับคู่มือบริหารโครงการ” สำหรับผู้บริหารโครงการ
Goal
การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรนี้ จะช่วยให้ผู้เข้าอบรมได้รับประโยชน์และพัฒนาทักษะในการบริหารจัดการโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ เช่น
- ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับ ISO 21500: เข้าใจแนวคิด หลักการ และขั้นตอนต่างๆ ในการบริหารความเสี่ยงโครงการตามมาตรฐานสากล
- ทักษะในการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยง: สามารถระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในโครงการได้อย่างครอบคลุม ประเมินผลกระทบของความเสี่ยง และวางแผนการจัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ทักษะในการวางแผนและควบคุมโครงการ: สามารถวางแผนโครงการได้อย่างรอบคอบ และควบคุมความเสี่ยงต่างๆ ตลอดระยะเวลาของโครงการ
- การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารโครงการ: โครงการดำเนินไปอย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้
- การลดความเสี่ยงในการเกิดความล้มเหลวของโครงการ: ลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงที่ไม่ได้คาดคิด
- การเพิ่มความน่าเชื่อถือของโครงการ: โครงการมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นในสายตาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- การปรับปรุงกระบวนการทำงาน: กระบวนการทำงานในการบริหารโครงการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
- การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการบริหารความเสี่ยง: ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง
Utimate Goal
หากผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปรับประยุกต์ได้เป็นอย่างดี ได้อย่างเชี่ยวชาญ โดยผสมผสานทั้งความรู้และประสบการณ์แล้ว จะสามารถถอด Vision / Mission / Strategic Positioning ขององค์กร ออกมาได้อย่างมีนัยยะสำคัญ เพื่อรองรับการ Implement ทั้งประเภทและระดับการขับเคลื่อนนั้นๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมที่สุดกับองค์กรที่มีความพิเศษเฉพาะตัว ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์กรที่ได้วางเอาไว้ ตาม Vison & Mission ซึ่งจะนำไปเชื่อมโยงกับระบบขับเคลื่อนองค์กรทั้ง 4 Mechanism of Strategic Management ได้แก่
1. Strategic Map & Formulation การวางตำแหน่งในแผนที่ทางธุรกิจเชิงยุทธศาสตร์ของ องค์กรและการกำหนดแผนกรดำเนินงานตามแผนที่นั้น
2. Strategic Implement การดำเนินงานเชิงกลยุทธ์ที่มาจากแผนกลยุทธ์แล้วนำไปสู่การปฏิบัติเชิงกลยุทธ์
3. Strategic Monitoring การติดตามผลการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์
4. Strategic Measurement การวัดผลและประเมินผลการดำเนินงานตามการจัดการเชิงกลยุทธ์
โดยขับเคลื่อนด้วย 3 เรื่องหลักในองค์กรเป็นสำคัญ ได้แก่
Management Strategy > Business Strategy > HRM & HRD Strategy


แนะนำกลุ่มหลักสูตรสำหรับการติดตามผล
- Group Coaching by one on One for Strategic Implement (Online / Onsite)
- Prioritizing Project for Strategic Plan & Implement
- Presentation for Strategic Project with Top Management / Executive (Persuasive Communication)
- Presentation for Action Plan with Top Management / Executive (Persuasive Communication)
- Strategic Alignment & Realignment
- HRM &HRD Strategy