มาตรฐานใหม่ด้านตรวจสอบ NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARD 2025 สู่แผนการปรับตัวงานตรวจสอบใหม่ (อ.จิรพร สุเมธีประสิทธิ์) [ICR017]

มาตรฐานใหม่ด้านตรวจสอบ NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARD 2025 สู่แผนการปรับตัวงานตรวจสอบใหม่ (อ.จิรพร สุเมธีประสิทธิ์) [ICR017]

มาตรฐานใหม่ด้านตรวจสอบ NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARD 2025 สู่แผนการปรับตัวงานตรวจสอบใหม่ (อ.จิรพร สุเมธีประสิทธิ์) [ICR017]

หลักสูตร : 

มาตรฐานใหม่ด้านตรวจสอบ NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARD 2025 สู่แผนการปรับตัวงานตรวจสอบใหม่

วิทยากร/ที่ปรึกษาในหลักสูตรนี้ : 

อ.จิรพร สุเมธีประสิทธิ์ (ประวัติวิทยากร)

ระยะเวลา :  1 วัน / 6 ชั่วโมง

รหัส : ICR017

Conceptual Design

แนวคิดการออกแบบหลักสูตร

ILA Global ได้ประกาศ NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARDS 2025 เมื่อเดือนมกราคม 2024 เพื่อลดความซับซ้อนของโครงสร้าง IPPF เป็น ศูนย์ รวมการชี้แจงและจัดองค์ประกอบทั้งหมด รวมทั้งนำสิ่งต่างๆมาไว้ในที่เดียวกัน โดยนำเอามาตรฐาน คำแนะนำ แนวปฏิบัติที่ดี FACRSHEET ที่พิสูจน์แล้ว ว่าควรนำมาใช้งานได้จริงและนำไปใช้ได้และจัดการกับหัวข้อที่เกิดขึ้นใหม่ ให้มั่นใจว่าจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการตรวจสอบภายใน และรักษาและเพิ่มมูลค่าแก่องค์กร

Objectives

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม รับรู้เหตุผลเบื้องหลังการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานใหม่ และทำความเข้าใจองค์ประกอบทั้ง 5 Domaiz ของมาตรฐานใหม่

2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม รับรู้ถึงประเด็นที่ต้องมีการปรับตัว กระบวนการตรวจสอบภายใน ให้สอดคล้องกับแต่ละ Domain ในมาตรฐานใหม่

3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทดสอบประเมินถึง ประเด็นที่เป็นช่องว่าง ของแนวปฏิบัติในปัจจุบัน เทียบกับสิ่งที่ควรจะเป็นตามมาตรฐานใหม่ และการจัดทำแผนเพื่อรองรับ รูปแบบและกระบวนการตรวจสอบตามมาตรฐานใหม่

Key Topic

หัวข้อการอบรมของหลักสูตร

แบบที่ 1 (1 วัน)

Day 1 – วันที่ 1 ช่วงเช้า (09.00-12.00 น.) 

การบรรยาย – ความเข้าใจที่จำเป็นต่อมาตรฐาน NEW GLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARDS 2025 (การทดสอบก่อนและหลังการอบรม)

  • เหตุผลความจำเป็น และการเปลี่ยนแปลงของ NEW CLOBAL INTERNAL AUDIT STANDARDS 2025 สู่ 15 DOMAINS

Day 1 – วันที่ 1 ช่วงบ่าย (13.00-16.00 น.)

  • องค์ประกอบสำคัญ นิยาม การตีความใหม่ สิ่งที่เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก ระดับ PRINCIPLES & STANDARDS ในราย DOMAIN และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบภายใน
    • DOMAIN I PURPOSE OF INTERNAL AUDITING
    • DOMAIN II- EHICS AND PROFESSIONALISM
    • DOMAIN III-GOVERNING THE LA FUNCTION
    • DOMAIN IV-MANAGING IA FUNCTION
    • DOMAIN V- PERFORMING IA SERVICES(SCENARIO-BASE) ตาม Driving Force ที่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์

Day 2 – วันที่ 2 ช่วงเช้า (09.00-12.00 น.) 

กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ – การประเมินช่องว่างการดำเนินงาน ประเด็นที่เป็นความห้าทายและจุดอ่อน กิจกรรมที่ต้องดำเนินการในระยะต่อไป

  • แปงกลุ่มย่อย ประเมินช่องว่างการดำเนินงานในแต่ละ DOMAIN 2-5

Day 2 – วันที่ 2 ช่วงบ่าย (13.00-16.00 น.)

  • ข้อเสนอแนะกิจกรรมที่ต้องดำเนินการในระยะต่อไป
    • กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบภายใน
    • แผนกลยุทธ์การตรวจสอบภายใน
    • ภารกิจ ลักษณะงามใหม่ของการตรวจสอบภายใน
    • คู่มือการตรวจสอบภายในส่วนที่ต้องเปลี่ยนแปลง
    • CAIP ที่ครบกำหนดในรอบต่อไป
    • ROADSHOW การสื่อสารและสร้างความเข้าใจผู้รับบริการ
  • สรุปประเด็นที่เป็นความท้าหาย

# เบรคเช้า – 10.30-10.45 น.
# รับประทานอาหารกลางวัน – 12.00-13.00 น.
# เบรคบ่าย – 14.30-14.45 น.

ทั้งนี้ ช่วงเวลาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

แบบที่ 2 (2 วัน)

กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม

แบบที่ 3 (2.5 วัน)

กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม

แบบที่ 4 (3 วัน)

กรุณาติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่เพื่อออกแบบหลักสูตรเพิ่มเติม

Target Group

หลักสูตรนี้เหมาะกับใครบ้าง

1. Top Management (Executives,C-Level,Director)
2. Middle Management (Manager & Asst. Manager)
3. Front-Line Management (Sr.Supervisor,Supervisor)

กลุ่มเป้าหมายของหลักสูตรการอบรมนี้ จะแบ่งออกตามหลักสูตรย่อย ดังนี้

  1. หลักสูตรย่อย “แนวทางการปรับรื้อกฎบัตรและแผนกลยุทธ์ตรวจสอบภายใน เหมาะสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบตาม NEW INTERNAL AUDIT GLOBAL STANDARD VERSION 2024”
  2. หลักสูตรย่อย “การขับเคลื่อน กลไกการตรวจสอบภายในตาม NEW INTERNAL AUDIT GLOBAL STANDARD VERSION 2024” เหมาะสำหรับผู้บริหาร และหัวหน้างานตรวจสอบภายใน
  3. หลักสูตรย่อย “การปรับแผนดำเนินงานตรวจสอบ และรูปแบบการตรวจสอบสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับยุคดิจิทัล”

Goal

ผลที่คาดว่าจะได้รับในระดับหลักสูตร

หลักสูตรการตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล (Internal Audit Global Standard) จะนำมาซึ่งประโยชน์และผลลัพธ์ที่หลากหลาย ทั้งในระดับบุคคลและระดับองค์กร อาทิ เช่น

  • ความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง: ผู้เข้าอบรมจะเข้าใจถึงแนวคิด หลักการ และขั้นตอนการดำเนินการตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล (IIA Standards) อย่างครอบคลุม
  • ทักษะการตรวจสอบที่แข็งแกร่ง: ผู้เข้าอบรมจะได้รับการพัฒนาทักษะในการวางแผนการตรวจสอบ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการรายงานผลการตรวจสอบอย่างเป็นระบบ
  • ทัศนคติเชิงวิชาชีพ: ผู้เข้าอบรมจะมีทัศนคติเชิงวิชาชีพในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และมีความรับผิดชอบต่อคุณภาพของงาน
  • การเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน: องค์กรจะมีระบบการตรวจสอบภายในที่เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล
  • การลดความเสี่ยง: การตรวจสอบภายในจะช่วยระบุและแก้ไขปัญหาที่อาจส่งผลกระทบต่อองค์กรได้อย่างทันท่วงที
  • การปรับปรุงกระบวนการทำงาน: ผลการตรวจสอบภายในจะนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทำงานต่างๆ ภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับ: องค์กรจะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องได้อย่างครบถ้วน

ผลลัพธ์โดยรวมสำหรับองค์กร

  • การสร้างความมั่นใจให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: การมีระบบการตรวจสอบภายในที่เข้มแข็งจะสร้างความมั่นใจให้กับผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ
  • การปรับปรุงภาพลักษณ์ขององค์กร: องค์กรที่มีระบบการตรวจสอบภายในที่ได้มาตรฐานจะส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ขององค์กร
  • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน: การมีระบบการตรวจสอบภายในที่เข้มแข็งจะช่วยให้องค์กรสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว

Utimate Goal

ผลที่คาดว่าจะได้รับในระดับองค์กร

หากผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปรับประยุกต์ได้เป็นอย่างดี ได้อย่างเชี่ยวชาญ โดยผสมผสานทั้งความรู้และประสบการณ์แล้ว จะสามารถถอด Vision / Mission / Strategic Positioning ขององค์กร ออกมาได้อย่างมีนัยยะสำคัญ เพื่อรองรับการ Implement ทั้งประเภทและระดับการขับเคลื่อนนั้นๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมที่สุดกับองค์กรที่มีความพิเศษเฉพาะตัว ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์กรที่ได้วางเอาไว้ ตาม Vison & Mission ซึ่งจะนำไปเชื่อมโยงกับระบบขับเคลื่อนองค์กรทั้ง 4 Mechanism of Strategic Management ได้แก่

1. Strategic Map & Formulation การวางตำแหน่งในแผนที่ทางธุรกิจเชิงยุทธศาสตร์ของ องค์กรและการกำหนดแผนกรดำเนินงานตามแผนที่นั้น
2. Strategic Implement การดำเนินงานเชิงกลยุทธ์ที่มาจากแผนกลยุทธ์แล้วนำไปสู่การปฏิบัติเชิงกลยุทธ์
3. Strategic Monitoring การติดตามผลการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์
4. Strategic Measurement การวัดผลและประเมินผลการดำเนินงานตามการจัดการเชิงกลยุทธ์

 

โดยขับเคลื่อนด้วย 3 เรื่องหลักในองค์กรเป็นสำคัญ ได้แก่
Management Strategy > Business Strategy > HRM & HRD Strategy

Request for Our Training Course / Program and Quotation

(แจ้งขอรายละเอียดหลักสูตรหรือโปรแกรมฝึกอบรมและใบเสนอราคาฉบับสมบูรณ์)

แนะนำกลุ่มหลักสูตรสำหรับการติดตามผล

  • Group Coaching by one on One for Strategic Implement (Online / Onsite)
  • Prioritizing Project for Strategic Plan & Implement
  • Presentation for Strategic Project with Top Management / Executive (Persuasive Communication)
  • Presentation for Action Plan with Top Management / Executive (Persuasive Communication)
  • Strategic Alignment & Realignment
  • HRM &HRD Strategy